6 ขั้นตอน การทำนาข้าวอินทรีย์ ปลอดสารพิษ
ReadyPlanet.com
dot
bulletโปรโมชั่น
bulletเข้าสู่ระบบ
bulletสมัครสมาชิก
การรับประกันสินค้า
dot
ตระกร้าสินค้า
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
dot
ค้นหาสินค้า

ราคาสินค้า
หมวดสินค้า

  [Help]
dot
dot
อีเมล์

dot
หมวดสินค้า
เครื่องยนต์อเนกประสงค์
เครื่องตัดหญ้า
เครื่องพ่นยา
เครื่องปั่นไฟ
ปั๊มน้ำ เครื่องสูบน้ำ
เครื่องตัดแต่งกิ่งไม้
เครื่องเจาะดิน
เครื่องมือฮาร์ดแวร์
แม่แรงยกรถ
เอ็นตัดหญ้า กระปุกเอ็นตัดหญ้า
สินค้าอื่นๆ
line id @vigotech
แจ้งชำระเงิน
โปรโมชั่นประจำเดือน
clinton
กิจกรรมของบริษัท
วีดีโอการใช้งาน
รีวิวสินค้าจากลูกค้า
ข่าวเกี่ยวกับเกษตรกรรม
ขนส่งเคอรี่ kerry
bulletเงื่อนไขการรับประกันสินค้า
คู่มือการใช้งานเครื่องพ่นยาสะพายหลังแบตเตอรี่และมือโยก


เครื่องมือการเกษตรและอุปกรณ์การเกษตร


6 ขั้นตอน การทำนาข้าวอินทรีย์ ปลอดสารพิษ

 ทำนาข้าวอินทรีย์

การทำนาข้าวอินทรีย์

การทำนาข้าวปลอดสารพิษ เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยยึด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ข้าวสำหรับการบริโภคอย่างปลอดภัย ไร้สารพิษ รักษาสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะอนามัย สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคหรือมีโรคน้อยที่สุด เมื่อคน มีความแข็งแรงทั้งกายและใจแล้ว จะได้ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม เพื่อให้เกิดผลดี โดยภูมิภาคที่ ทำนาข้าวอินทรีย์ ส่วนใหญ่จะเป็นภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตามลำดับ 

ขั้นตอนที่ 1

การเตรียมพันธุ์ข้าว การคัดเลือกพันธุ์ข้าว

1. คัดเลือกพันธุ์ข้าวให้เหมาะสมกับพื้นที่นา เช่น ข้าวพันธุ์ กข. 6 จะชอบพื้นที่ในที่ลุ่มมีน้ำ ขังตลอด ตั้งแต่ปักดำจนถึงออกรวงและมีแป้ง จึงจะปล่อยน้ำออกจากคันนาได้และได้ผลผลิตดีแต่ถ้า เป็นข้าวหอมมะลิจะขึ้นได้ดีทุกพื้นที่ ขอแต่ให้มีน้ำขังเนื่องจากการทำนาสิ่งสำคัญคือต้องมีน้ำ

2. การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว คัดเลือกแปลง ข้าวที่มีต้นข้าว รวงข้าว เมล็ดข้าวที่โตแข็งแรง เมล็ดข้าวแก่จัด เมล็ดข้าวมีความสมบูรณ์ ถอนออกเป็นรวงๆ ที่สมบูรณ์ที่สุด เก็บไว้ต่างหาก แล้วนำมาแยกเมล็ดข้าวและฟางข้าว ออกจากกัน จากนั้นนำเมล็ดมาฝัด เพื่อคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ ที่ไม่สมบูรณ์ออก แล้วนำเมล็ดข้าวที่คัดเลือกว่าดีแล้วตากแห้ง แล้วเก็บไว้ทำพันธุ์ในปีต่อไป


ขั้นตอนที่ 2

การเตรียมพื้นที่ทำนา

1. การเตรียมคูคันนาการทำนาจะต้องเตรียมคูคันนาให้มีความสูงประมาณ 50 - 70 เซนติเมตร ความหนา 60 -80 เซนติเมตร เพื่อกักเก็บน้ำ เพราะข้าวจะขาดน้ำไม่ได้ ถ้าไม่มีน้ำขังจะเกิด พวกวัชพืชในข้าว ทำให้ข้าวเจริญเติบโตช้าเสียเวลาในการกำจัดวัชพืช คันนาควรใส่ท่อระบายน้ำ เพราะถ้า ช่วงแรกในการปักดำไม่ควรให้ระดับน้ำสูงมากกว่า 10 เซนติเมตร เพราะต้นข้าวยังไม่แข็งแรงพอ ถ้ามีนา ในแปลงนามากจะทำให้ต้นข้าวเน่าได้ ควรมีท่อระบายน้ำออก

2. ปรับพื้นที่ในคันนาให้มีระดับเท่ากัน อย่าให้มีน้ำเอียงด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อจะได้ขังน้ำ อยู่ระดับเดียวกัน ถ้าหากพื้นที่นามีความลุ่ม มีระดับพื้นที่ในระดับเดียวกันก็ไม่มีความจำเป็นในการปรับ

พื้นที่


ขั้นตอนที่ 3

หลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวเสร็จ พื้นที่นายังมีฟางข้าวมีหญ้า เราควรนำปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ หว่านทั่วไป โดยคิดเฉลี่ย 200 กิโลกรัม ต่อ 1 ไร่ แล้วฉีดพ่นด้วยน้ำยาจุลินทรีย์ ให้ทั่วแล้วไถกลบฟางข้าว จุลินทรีย์ จะช่วยย่อยสลายฟางข้าว ให้เน่าเปื่อย ทำให้ดินร่วนซุยเป็นอาหารของข้าวต่อไป สำหรับขั้น ตอนนี้ควรทำในช่วงเดือนธันวาคม เพราะในช่วงนี้เป็นหน้าหนาว มีหมอกลงเหมาะในการขยายตัวของ เชื้อจุลินทรีย์


ขั้นตอนที่ 4

นำน้ำจุลินทรีย์มาหมักเมล็ดข้าว โดยให้น้ำจุลินทรีย์ ท่วมเมล็ดข้าว หากมีเมล็ดข้าวฟูน้ำ ให้เก็บออกให้หมด ควรแช่เมล็ดข้าวประมาณ 2 - 3 วัน แล้วนำขึ้นจากน้ำมาพักไว้สัก 1 วัน แล้วนำมา หว่านในแปลงที่เตรียมไว้


ขั้นตอนที่ 5

การเตรียมพื้นที่สำหรับเพาะต้นข้าว

พอถึงฤดูการทำนา ถ้าหากปีไหนฝนดีคือฝนตกในช่วงเดือนมิถุนายน ควรเตรียมพื้นที่ สำหรับกล้าพันธุ์ข้าว คือเตรียมแปลงสำหรับเพาะพันธุ์ข้าว ซึ่งมีหลักพิจารณาดังนี้

1. ที่ดินร่วนซุย

2. อยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น สระน้ำ หนองน้ำ ถ้าหากฝนที่ช่วง จะได้อาศัยน้ำจากแหล่งน้ำได้ 


วิธีเตรียมแปลงเพาะกล้าพันธุ์ข้าว

1. ที่มีน้ำขังพอที่จะหว่านกล้า เราก็ไถและคราดินให้ร่วนซุย และระดับพื้นเสมอกัน ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 2-3 ชั่วโมง แล้วนำเมล็ดข้าวที่เตรียมไว้มาหว่าน อย่าให้หนาหรือห่างจนเกินไป

2. ประมาณ 10 – 15 วัน ต้นกล้าตั้งหน่อได้แข็ง นำน้ำจุลินทรีย์ ผสมน้ำพ่นต้นกล้า โดย ผสมน้ำจุลินทรีย์ 3 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทั่วแปลงกล้า

3. ขังน้ำใส่ต้นกล้า อย่าให้น้ำขาดจากแปลงกล้า

4. ก่อนจะถอนกล้า 5 วัน ให้น้ำจุลินทรีย์ พ่นอีกเพื่อจะได้ถอนง่าย เพราะรากจะฟู

ทำนาข้าวอินทรีย์

ขั้นตอนที่ 6

การปักดำ

ในช่วงก่อนการปักดำ เราควรขังน้ำ ไว้ในนา เพื่อจะทำให้ดินนิ่ม ดินไม่แข็ง ง่ายในการไถดำ เราควรจะกักน้ำเอาไว้

1. พอถึงเวลาดำนา เราควรปล่อยน้ำที่ขังออก จากคันนา ให้เหลือไว้ประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร อย่าให้น้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป ถ้าน้ำมากจะทำให้ข้าวเปื่อย ถ้าน้ำน้อยหาก

ฝนขาดช่วงจะทำให้ข้าวขาดน้ำ เพราะการ ทำนา ยังอาศัยน้ำฝน จากธรรมชาติจึงเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน

2. ไถนาและคราดที่นาให้ดินร่วนซุย และนำต้นกล้ามาปักดำ ซึ่งกะความห่าง ระหว่างต้นให้ห่างประมาณ 40 เซนติเมตร เพื่อให้แตกกอได้ดีและใส่ต้นกล้า กอละประมาณ 2-3 ต้นกล้า

3. เมื่อปักดำประมาณ 15 วัน นำจุลินทรีย์ไปผสมน้ำพ่นต้นข้าวในนา เพื่อกระตุ้น เชื้อจุลินทรีย์ที่หว่านตอนเตรียมที่ดิน และจะทำให้ต้นข้าวแข็งแรงเติบโต และทนต่อศัตรูข้าว

4. คอยหมั่นดูแลต้นข้าว และดูแลระดับน้ำอย่าให้ขาดในนาข้าวหมั่นรักษาไม่ให้วัชพืช ขึ้นในนาข้าว และพ่นจุลินทรีย์ในทุกๆ 20 วัน จนถึงข้าวตั้งท้องแล้วจึงงดการพ่นจุลินทรีย์ แต่ยังคงรักษา ระดับน้ำในคันนาอย่าให้ขาด

5. พอข้าวแก่พอสมควรก็ปล่อยน้ำออกจากคันนา และเตรียมเก็บเกี่ยวต่อไป


แมลงดีในแปลงนาข้าว

การรู้จักชนิดของศัตรูธรรมชาติและปล่อยให้ศัตรูธรรมชาติช่วยกำจัดแมลงศัตรูข้าวเป็น วิธีหนึ่งที่ช่วยลดต้นทุนการผลิต ทำให้สภาพแวดล้อมคงสภาพเดิมมากที่สุดเป็นการรักษาผลผลิตไม่ให้ เสียไป ผลผลิตข้าวที่ได้ก็ไม่มีสารพิษตกค้าง และสำคัญที่สุดคือ ช่วยอนุรักษ์สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ในนา ข้าวตามธรรมชาติได้มากขึ้น ได้แก่ แมงมุมสุนัขป่า แมงมุมเขี้ยวยาว แมงมุมตาหกเหลี่ยม แมงมุมหลัง เงิน แมงปอเข็ม ด้วงเต่า ด้วงดินด้วงก้นกระดก มวนเขียวดูดใบ มวนจิงโจ้มวนเพชฌฆาต แตนเบียนแซน โธพิมปล้า แตนเบียนโกนาโตเวอรัส แตนเบียนเทเมลูค่า แมลงวันตาโต ฯลฯ


ปัญหาโรคแมลง

ปกตินาข้าวไร้สารพิษแทบจะไม่มีโรคแมลงรบกวน ธรรมชาติจะจัดการกันเองอย่าง สมดุล ในนาจะมีปู ปลา กบเขียด แมงมุม ตัวน้ำ ตัวเบียน แมลงปอ และเนื่องจากต้นข้าวแข็งแรงใบแข็ง พวกเพลี้ย รา ไร จะทำลายได้ยาก แต่หากมีโรคแมลงรบกวน ให้ใช้สมุนไพรที่มีฤทธิ์ไล่แมลงชนิดสกัด หรือหมักฉีดพ่นในอัตรา 3 - 5 ช้อนต่อน้ำ 20 ลิตรโดยอาจฉีดรวมกับการฉีดพ่นน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเป็น การป้องกัน แต่เมื่อมีแมลงศัตรูพืชเข้าทำลายมาก ควรฉีดพ่นติดต่อกันอย่างน้อย 3 วันการฉีดพ่นที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด ควรฉีดพ่นในช่วงเย็น

กำจัดหอยเชอรี่

ปัญหาหอยเชอรี่

หอยเชอรี่เป็นศัตรูข้าวที่พบมาก เป็นหอยที่นำมาจากอเมริกาใต้ ชอบอาศัยในน้ำนิ่งหรือ ไหลช้า อายุ 3 เดือนสามารถผสมพันธุ์ ออกไข่ครั้งละ 300 - 3,000 ฟอง กลุ่มไข่จะมีสีชมพูแม่หอยจะออก ไข่ทุก 4 – 10 วัน จนอายุประมาณ 3 ปี ฤดูแล้งสามารถหลบฝังตัว จำศีลได้นาน 3-4 เดือน


วิธีกำจัดหอยเชอรี่

อาจทำได้โดย จับหอยและไข่มาหมักเป็นน้ำหมักชีวภาพซึ่งมีธาตุอาหารสูง หรือนำเป็ด มาปล่อยในนา เป็นจะกินหอยเชอรี่จนเกือบหมด หรือนาที่ไม่สารเคมีนกปากห่างจะลงมาจับหอยเชอรี่ กิน


วิธีกำจัดหอยเชอรี่อีกอย่าง คือ

ใช้ปูนขาว 5 กิโลกรัม ละลายน้ำ 100 ลิตร คนให้เข้ากันทิ้ง ไว้ 1 คืน นำน้ำปูนใส 2 ลิตร ผสมน้ำ 10 ลิตร สาดให้ทั่วแปลงนาที่มีน้ำลึก ประมาณ 10 เซนติเมตร ความ เป็นด่างของปูนขาวจะทำให้หอยเชอรี่ตายหรือหนีไป แถมยังช่วยลดความเป็นกรดของดินได้ดี หรือถ้า แปลงนาเป็นแอ่งน้ำขัง เวลาหว่านข้าวปลูก หอยเชอรี่จะมารวมอยู่บริเวณน้ำ ถ้านำกิ่งสะเดา มาวางให้ ใบเน่าอยู่ในแอ่งน้ำ หรือใช้มะละกอสุกบดแช่ในน้ำหมักชีวภาพ 2 - 6 ชั่วโมงนำไปหว่านในนาช่วงทำ เทือก ระดับน้ำประมาณ 10 เซนติเมตร หอยเชอรี่จะหนีไปหมด


วิธีในการกำจัดหอยเชอรี่ คือ

ใช้ผล ก้าน ใบ สะเดาบด 20 กิโลกรัม ใส่น้ำ 20 ลิตร เกี่ยว ไฟปานกลางให้เหลือ 10 ลิตร ผสมกับใบขี้เหล็ก เถาบอระเพ็ด ใบยูคาลิปตัส หัวข่าแก่ อย่างละ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร เคี่ยวไฟปานกลางให้เหลือ 10 ลิตร กรองเอาแต่น้ำจากนั้น ใช้น้ำสมุนไพรนี้ 10 ส่วน ผสมกากน้ำตาล 1 ส่วนใส่จุลินทรีย์เล็กน้อย หมักไว้ 2-3 วัน เป็นหัวเชื้อ วิธีใช้ ใช้หัวเชื้อ 100 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร สาดใส่พื้นนาบางๆ ช่วงที่ทำเทือกระดับน้ำลึกประมาณ 10 เซนติเมตร


ประโยชน์การทำนาข้าวอินทรีย์

1. ช่วยลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตมากขึ้น เพราะการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์จะทำให้ ได้ผลผลิต 800 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นทุนในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพียงแค่ ประมาณ 200 บาทต่อไร่โดย อาจจะต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากในตอนแรกแต่จะค่อยๆ ลดลงเมื่อสภาพดินดีแล้ว ในขณะที่การใช้ปุ๋ยเคมี จะได้ผลผลิตประมาณ 400 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นทุนการผลิตประมาณ 400 บาทต่อไร่และต้องเพิ่ม ปริมาณปุ๋ยให้มากขึ้นในทุกๆปี

2. ได้สภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์กลับคืนมา ดินร่วนซุย รากข้าวชอนไชหาอาหารง่าย กบ กุ้ง ปลาชุกชุม มีสุขภาพชีวิตที่ดี มีอาหารปลอดสารพิษไว้บริโภค

 




ข่าวเกษตรน่ารู้

เทคนิคการปลูกและวิธีเพาะพันธุ์ผักหวานป่า ให้เจริญงอกงาม
การปลูกไผ่ตง พืชอเนกประสงค์สารพัดประโยชน์ เป็นที่ต้องการของตลาด
วิธีปลูกมะพร้าวน้ำหอม ให้มีรสชาติหวานกลมกล่อม และมีกลิ่นหอมชื่นใจ
วิธีการทำปุ๋ยชีวภาพ และ ปุ๋ยพืชสด
การเพาะปลูกและขยายพันธุ์พืช การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วิธีทำ สารกำจัดศัตรูพืช น้ำส้มควันไม้ (Wood Vinegar)
วิธีทำ สมุนไพรขับไล่แมลง แบบต่างๆ
การเลี้ยงกบ เพื่อเลี้ยงชีพ และ การเตรียมบ่อพัก
ขั้นตอนวิธีทำ ปุ๋ยหมักชีวภาพ และ การใช้ประโยชน์
ขั้นตอนการทำ หัวเชื้อจุลินทรีย์ ด้วยตนเอง
ขั้นตอนวิธีทำ การเผาถ่านไม้ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงภายในครัวเรือน
น้ำสกัดชีวภาพ คืออะไร และการทำน้ำสกัดชีวภาพ แบบต่างๆ
งานเกษตรแฟร์ 2563 นวัตกรรมใหม่ เพื่อเกษตรไทยยั่งยืน
เกษตรกรจังหวัดพะเยา "ปลูกแตงโม" บนเนื้อที่ 13 ไร่ สร้างรายได้ปีละ 300,000
เกษตรกร จ.ราชบุรี จับกลุ่มปลูกองุ่นไร้เมล็ด เชิญชวนชิมสดจากไร่
เห็ดมิลค์กี้ พืชเศรษฐกิจใหม่ สร้างรายได้เสริม กก. ละ 1,000 บาท เพาะง่ายรายได้ดี
งานเกษตรแฟร์ 2562
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชเศรษฐกิปลูกง่าย ตลาดต้องการสูง article
งานเกษตรแฟร์ 2561 กับแนวคิดร่วมกันก้าวไป วันที่ 26 ม.ค. - 3 ก.พ article
คึกคักสุดๆ!! ชมชิมช้อป ทุเรียน มังคุด ชั้นหนึ่ง เมืองจันท์
ถั่วพู ผักพื้นบ้านปลูกง่ายสร้างรายได้งาม ดีกว่าถั่วเหลือง
ปลูกเมลอนขายในโซเชียล ขายดีจนต้องจองล่วงหน้า!
เทปน้ำหยด นวัตกรรมช่วยเหลือเกษตรกร
[อบรมฟรี] สวนเกษตรดาดฟ้าหลักสี่อบรมฟรี ปลูกผักปลอดสารพิษ
เทคนิคการปลูกพืชคลุมดิน
Review ตลับเอ็นตัดหญ้า จากการใช้งานจริง by Alcidini Winery ไร่ไวน์อัลซิดินี่
งาน Organic & Natural Expo 2015
เห็ดโต่งฝน เห็ดเศรษฐกิจตัวใหม่จากประเทศเพื่อนบ้าน
ผักบุ้งแก้ว 2 ไร่ เก็บขายได้วันละพัน article
เยี่ยมไร่เมล่อนกำแพงแสน ดูเทคนิคการผลิตเมล่อนให้หวานอร่อย
เกษตรกรเมืองโอ่งเพาะเห็ดหูหนูขาย สร้างรายได้กว่าหมื่นบาทต่อวัน article
เทคนิคการปลูกแตงไทยแบบง่ายๆ article
มะนาวนิ้วมือหรือมะนาวคาเวียร์ เปรี้ยวอย่างมีสีสันเพิ่มมูลค่าอาหารให้ดูไฮโซ article
ชมพู่ทับทิมจันท์....สวนดังของราชบุรี ชมพู่คุณภาพส่งจีน article
เยี่ยมสวนฝรั่ง..มืออาชีพที่บ้านแพ้วเงินล้านจากฝรั่งทำไม่ยาก article
กล้วยตัดใบแหล่งใหญ่ของประเทศ พื้นที่ปลูกนับ 10,000 ไร่ ก้าวไกลสู่ตลาดโลก article
ปลูกข่าเหลือง พืชเศรษฐกิจทำเงินที่น่าลงทุน ปลูกง่าย รายได้ดี 5-8 หมื่นบาท/ไร่ article
พังกาลอดฟาร์ม...พลิกฟื้นชาวสวนยาง ด้วยธุรกิจนกกระทาผลิต 80,000 ตัว/เดือน article
วิธีปลูกผักกาดหอมหรือผักสลัด พืชมากคุณประโยชน์ article
วิธีการปลูกผักบุ้งจีน ผักแคลเซียมสูง ปลูกง่ายเจริญเติบโตไว article
วิธีการปลูกผักชี ผักที่ปลูกง่าย ตลาดต้องการสูง article
วิธีปลูกข้าวโพดสีม่วง ปลูกง่าย รายได้ดี article
ปลูกผักคะน้าเกษตรอินทรีย์ ขายดี ราคาดี ไม่มีคู่แข่ง article
ขนุนทวาย พันธุ์ปิยะมาดา เปลือกบางยางน้อย ให้ผลดก article
เพาะพันธุ์สับปะรดสี ใช้พื้นที่น้อย รายได้ดี ปลูกง่าย รายได้หลักหมื่น article
กุ้งก้ามแดง สัตว์เศรษฐกิจตัวใหม่ในนาข้าว กก.ละ 400-500 บาท อาชีพพลิกฟื้นฐานะของชาวนาไทย article
มาริสาฟาร์ม … ฟาร์มเห็ดโคนญี่ปุ่นคุณภาพ article
การปลูกมะม่วงในวงบ่อปลูกไม่ยาก ให้ผลผลิตดี article
‘สาคู’พืชเศรษฐกิจช่องทางรวยของภาคใต้ article
เกษตรในเมือง....ปลูกผักบนดาดฟ้าอาคารสำนักงานแบบ DIY article
การปลูกพริก และประโยชน์ของพริก article
เทคนิคการปลูกมะละกอ 8ไร่ 2.5แสน ในช่วงเวลา 2 เดือน article
เทคนิคการปลูกผักในร่ม ใต้โคนต้นไม้ใหญ่ article
โรคผลเน่าของแคนตาลูป article
ทำไมบางคนใช้ยาแล้วได้ผล บางคนไม่ได้ผล ทั้งที่มันเป็นยาตัวเดียวกัน ?? article
การปลูกผักหลังน้ำท่วม article
การอนุรักษ์ดินบนพื้นที่ลาดเท article
วิธีพัฒนาที่ดินตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง article
สับปะรดแปรรูป สามร้อยยอดเพิ่มมูลค่าสับปะรดไทย ครองแชมป์ตลาดสากล
ปลูกตะไคร้ ป้อนตลาดทั้งในและต่างประเทศ ส่งออกปีละไม่ต่ำกว่า 50 ตัน article
เทคนิคการขยายพันธุ์มะนาว เพิ่มปริมาณกิ่งพันธุ์สูงสุด ด้วยกิ่งติดใบเพียงใบเดียว article
เผือกหอม พืชหลังนา สร้างรายได้งามของคนบ้านหมอ สระบุรี article
ปลูกแตงกวา ระบบน้ำหยด ที่ไร่ “ศุภโชค หินเบี้ย” จ.เพชรบูรณ์ article
อะโวคาโด...พืชเศรษฐกิจนอกสายตา ตลาดต้องการสูง ราคาแพง 50-60 บาท/กก. article
พลิกดินอีสานปลูกปาล์มน้ำมัน ที่หนองบัวลำภู ของเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด บนพื้นที่กว่า 100 ไร่ article
สวนกายกานต์ ….ปลูกตะไคร้กว่า 100 ไร่ ป้อนตลาดครบวงจร ทั้งกินสด ส่งโรงงาน ส่งออก อาทิตย์ละ 10 ตัน article
เทคนิคการทำมะนาวนอกฤดูในวงบ่อ ของสวนมะนาวแป้นท้ายไร่ ที่พิจิตร article
ลูกหม่อน อีกหนึ่งพืชเพื่อสุขภาพกระแสแรง article
เห็ดแครง…เห็ดเศรษฐกิจมาแรง ราคาแพง 150-200 บาท/กก. ตลาดต้องการสูง article
แหล่งผลิตกล้วยหอมทองส่งญี่ปุ่นแห่งใหม่ พื้นที่ปลูกกว่า 100 ไร่ ในพื้นที่ปลูก 7 จังหวัด article
เกษตรกร กำแพงแสน ปลูกกระชายส่งขาย สร้างรายได้หมุนเวียนตลอดปี article
มะนาวแป้นพิจิตร เน้นทำนอกฤดู ขายช่วงแพง ฟันกำไร article
ปลูกมะละกอ ส่งมะละกอป้อนตลาดวันละ 20 ตัน article
ปลูกมะขามเปรี้ยวยักษ์100 ไร่ ผลผลิตกว่า 1,500 ตัน article
ปลูกแก้วมังกร 1,500 ไร่ สร้างรายได้มหาศาล
เยี่ยมสวนมะกรูด ผลิตใบมะกรูดคุณภาพป้อนตลาดส่งนอก
หน่อไม้ฝรั่งส่งญี่ปุ่น ทำเงินสะพัด พลิกฐานะชั่วข้ามปี article
กุยช่าย พืชทำเงินของคนเมืองโอ่ง
ต้นเหตุของดินเสื่อม article
ปลูกหญ้าแฝก พืชมหัศจรรย์ ช่วยรักษาหน้าดินและสิ่งแวดล้อม article
จะลงทุนภาคการเกษตรอย่างไร ? ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC article
ราคาผัก ผลไม้กำหนดจากอะไร…ทำไมราคาจากสวนจึงต่างจากราคาตลาดมาก article
มาริสสาฟาร์ม … ฟาร์มเห็ดโคนญี่ปุ่นคุณภาพ article
เทคนิคผลิตเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม ส่งแม็คโครสัปดาห์ละ 2 ตัน article
เยี่ยมสวนมะพร้าวน้ำหอมส่งนอก 60 ไร่ สร้างอาชีพยั่งยืนนานกว่า 20 ปี article
ปลูกแตงกวาไร่เดียว ฟันเงินกว่า 70,000 ลงทุนแค่ 13,000 article
ปลูกดอกสลิดสร้างรายได้ช่วงหน้าหนาวราคาพุ่ง กก. 120-130 บาท article
เทคนิคเพาะเห็ดนางฟ้าขายช่วงราคาแพง จากสมบูรณ์ฟาร์ม จ.ขอนแก่น article
มันสำปะหลัง ระบบน้ำหยด ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต article
โกลบอล ออร์แกนิคส์ ส่งมะละกอป้อนห้างวันละกว่า 10 ตัน article
ธ.ก.ส ปล่อยกู้ 10,000 ล้านบาท ช่วยเกษตรกรแก้หนี้นอกระบบ article
พริกไทย..พืชเศรษฐกิจใหม่สร้างรายได้นับล้าน ที่สุโขทัย article
วิเคราะห์ตลาดมะละกอสุกก่อนลงทุน article
มาตรการแก้ปัญหาราคายางตกต่ำ article
เยือนแหล่งปลูกกล้วยหอมทองแหล่งใหญ่ นับ 1,000 ไร่ article
ขนุน...พืชทำเงินของชาว จ.ระยอง ส่งออกต่างประเทศ article
มารู้จักกับโรคทางดิน(โรคเหี่ยว โรคเน่า) กันค่ะ article
พุทราสามรส… พืชทำเงินที่หลายคนมองข้าม ทำเงินปีละ 1.5-2 ล้านบาท article



Copyright 2020 S.P. HARDWARE IMPORT EXPORT Co.,Ltd. All rights reserved.